5 แนวทาง สู้ วิ ก ฤ ต ก า ร เ งิ น รอดได้ทุกสถานการณ์ โดย มั น นี่ โ ค้ ช คนดัง

หากใครที่กำลังเผชิญ ปั ญ ห า ด้านการเงินท่าม ก ล า ง วิ ก ฤ ต ยังมองไม่เห็นหนทางในการดำเนินชีวิต ลองฟังแนวคิดจาก โค้ชหนุ่ม จักรพงษ์ เมษพันธุ์ วิทยากรด้านการเงินและการลงทุน เจ้าของเพจ The Money Coach ชื่อดัง ได้บรรยายในงานสัมมนา Krungsri Auto $mart Finance 2020 : ตอน ‘ปล่อยหมัด ซัดวิกฤตการเงิน’ ไว้ ด้วย 5 แนวทางง่ายๆ

เริ่มต้นจาก วางแผนตั้ง ก า ร์ ด กั น ภั ย วิ ก ฤ ต ด้วย 3 ข้อ

1.ดูแลรักษาสุขภาพ

คนที่มี ปั ญ ห า เรื่อง ก า ร เ งิ น มักมี ค ว า ม ทุ ก ข์ ส่งผลต่อสุขภาพไม่ว่าจะเป็น ร่ า ง ก า ย ห รื อ จิตใจ ถ้าใครกำลังเจอ ปั ญ ห า ด้านการเงินอยู่ให้ตั้งสติ เมื่อไหร่ก็ตามที่สมองคิดถึงเรื่องในอดีต ให้พยายามดึงสติกลับมา แล้วมองไปข้างหน้า อะไรที่เกิดขึ้นแล้วให้ช่างมัน และอย่า พ ย า ย า ม ด รา ม่ า กับชีวิต ใช้เฟซบุ๊กให้เป็นประโยชน์ เช่น “เพื่อนๆ ตอนนี้อาการหนักใช้ได้ ร า ย ไ ด้ หายไปหลายส่วน เลยเริ่มเปิดรับทำ บั ญ ชี ใครมีงานแจ้งด่วน รับทั่วราชอาณาจักร” หากโพสต์แบบนี้จะได้คุยแต่เรื่องบวก และยังเป็นการหารายได้อีกด้วย

2.วางแผนการเงินล่วงหน้า 3-6 เดือน

เป็นสิ่งที่ต้องทำก่อนเกิด วิ ก ฤ ต ช่วง C V 1 9 รายรับเปลี่ยน แต่รายจ่ายคงเดิม เกิดผล ก ร ะ ท บ คือ เมื่อก่อน ก ร ะ แ ส เ งิ น ส ด เคยเหลืออยู่บ้าง เมื่อเกิด วิ ก ฤ ต ก ล า ย เป็นไม่เหลือเก็บ หรือติดลบ หนักกว่าเป็นศูนย์ ฉะนั้น เงินเป็นเรื่องของตัวเลข ไม่ควรเก็บไว้ในหัว แต่ให้เขียนลงกระดาษ หรือลงโปรแกรมเอ็กเซลล์ แล้วจะเห็นตัวเลขที่ชัดเจน รู้ ส ภ า ว ะ ก า ร เ งิ น ของตัวเอง ทำให้วางแผน ก า ร เ งิ น ได้ง่ายขึ้น

3.ลดรายจ่าย ภาระผ่อน

เมื่อตัวเลขติดลบ ให้ ห้ า ม เ ลื อ ด ตัวเองก่อน อันดับแรก ควบคุมค่าใช้จ่ายส่วนตัว เมื่อมีตัวเลขงบการเงินของตัวเองแล้ว หากอยู่ตัวคนเดียวให้จัดการลดค่าใช้จ่ายได้เลย แต่ถ้ามีครอบครัว ให้สร้างความสมานฉันท์ นัดรวมตัวหลังอาหาร แล้วคุยกันแบบตรงไปตรงมาว่า ตอนนี้การเงินในครอบครัวไม่สู้ดี อยากให้ทุกคนช่วยกันประหยัด หรือพอจะลดรายจ่ายอะไรได้บ้าง ไม่ใช่ว่าเห็นลูกหรือแฟนใช้เงินเยอะ แล้วตะโกนด่า เป็นวิธีแก้ปั ญ ห า ที่ไม่ดี

ต่อมา จัดการส่วนที่เป็นค่าใช้จ่ายคงที่ ช่วงนี้ถ้าใครมีการตัดฝาก ตัดลงทุนให้เบาลงก่อน จากแต่ก่อนเคยออมเงิน 10% อาจจะลดเหลือ 5% เพื่อให้ ส ภ าพ ค ล่ อ ง กลับมา บางคนมีโปะบ้านโปะรถ หรือจ่าย ป ร ะ กั น อาจจะยืดเวลา พูดคุยกับตัวแทน ป ร ะ กั น เ รื่องการจ่าย เ บี้ ย ออกไปก่อน สิ่งสำคัญคือภาระผ่อน สามารถเข้าไปคุยกับธนาคารได้ ขอพักชำระหนี้ให้ดูเป็นกรณีไป

ถ้าพัก ชำ ร ะ ทั้ ง ก้ อ น ไม่ได้ ให้จ่ายเป็น ด อ ก เ บี้ ยไปก่อน ถ้าดอกเ บี้ ย ใกล้งวด เช่น ค่างวด 10,000 บาท ดอกเบี้ย 8,000 บาท ให้ขอลด ด อ ก เ บี้ ย หรือขอลดยอดผ่อน ทุกอย่างเจรจาได้ ในการเจรจากับแบงก์ ต้องไปแบบมีแผน นำงบการเงินที่ทำไว้ไปกางให้เห็น เพื่อให้การเจรจาบรรลุวัตถุประสงค์

ออกหมัด ฟ า ด วิ ก ฤ ต การเงิน หลังจากปรับตัวเลขต่างๆ แล้ว ให้เริ่มหารายได้ อาจจะหมดยุคของการมีรายได้ทางเดียวแล้ว

4.หาช่องทางเพิ่มรายได้จากทุนชีวิต คนที่มีปั ญ ห า ด้านการเงิน จะให้ไปลงทุนสร้างอะไรใหม่ไม่ใช่เรื่องง่าย ทางที่ดีคือ ใช้ต้นทุนชีวิตเป็นตัวเริ่มต้น

สำหรับเจ้าของกิจการ ช่วงเวลาแบบนี้ให้ตัดลบและควบคุมต้นทุน ดึงเงินสดเข้ามือให้มากที่สุด เริ่มจากไล่เรียง ลู ก ห นี้ การค้า ใครที่ดูแล้วมีแนวโน้มไม่ได้เงิน หรือได้เงินช้า ให้เข้าไปเจรจา หรือจัดการสินค้าในสต๊อก อะไรเอาออกมาขายได้ให้ขาย ทำโปรโมชั่นดึงเงินสดเข้ามือ หาลูกค้าใหม่ ใช้การตลาดออนไลน์ให้เป็น ป ร ะ โ ย ช น์ ส่วนลูกน้องหรือพนักงานในร้าน ให้ปรับบทบาทหน้าที่ทำอย่างอื่น

สำหรับคนทำงานประจำ เริ่มง่ายๆ ให้นำทักษะการทำงานที่มีอยู่ไปทำการตลาดในโซเชียลมีเดีย เช่น เป็นพนักงาน บั ญ ชี ให้โปรโมตว่ารับ ทำ บั ญ ชี เป็นวิศวกร ให้โปรโมตว่ารับจ้างออกแบบ มีเพื่อนทำขนมก็ไปรับมาขาย อย่ามัวเขินอาย อย่าดูถูกตัวเอง ถ้ามีใครแซวให้ปล่อยไป เพราะคนทำมาหากินไม่ผิด

5.รักษาวิ นั ย การใช้จ่าย

สิ่งที่เป็นตัววัดความสำเร็จ คือ วิ นั ยทางการเงิน คนที่ประสบความสำเร็จทางด้านการเงิน มี 3 ข้อ คือ

1. ความรับผิดชอบ ถ้าทำงบการเงินแล้วติดลบ แล้วอยู่เฉยได้ ไม่ต้องเข้าไปช่วยเหลือ แต่ถ้าเขาร้อนใจ หาที่พึ่ง ใครแนะอะไรไปแล้วลองทำ ถึงน่าช่วยเหลือ

2. ต้องมีความรู้ด้านการเงิน ไม่ว่าจะเป็นการเจรจา หรือการพูดคุย เป็นหลักทางกา ร เ งิ น ที่ง่ายที่สุด นอกจากนี้ ยังมีความรู้ทางด้านการเงินอื่นๆ อีก

3. ต้องมีวินัยด้านการเงิน ไม่มีใครรู้ว่าออมเงินไว้ เผื่อวันข้างหน้าจะเกิดปั ญ ห า แต่หลายคนก็ไม่ได้ออม ทั้งหมดนี้ เป็นไอเดียที่ฝากไว้

ขอบคุณข้อมูล : sentangsedtee.com