คำว่า “พ.ร.บ.” ที่เราพูดกันติดปาก ที่จริงแล้วคืออะไร
จริงๆ แล้ว “พ.ร.บ.” คือ การป ร ะ กั น ภัยรถยนต์ภาคบังคับ ซึ่งกฏหมายบังคับให้รถทุกคันต้อง ทำ ป ร ะ กั น พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ ป ร ะ ส บ ภั ย จากรถ พ.ศ. 2535 ที่ก ฎ ห มา ย กำหนดให้ยานพาหนะทางบกทุกประเภทที่จดทะเบียนกับกรมการขนส่งทางบก ต้องทำ ป ร ะกั น ภั ย ประเภทนี้
เพื่อให้ความ คุ้ม ค ร อ ง กับตัวบุคคลที่ได้รับผลจาก อุ บั ติ เ ห ตุ โดยไม่คำนึงถึงว่าบุคคลที่ได้รับ ผ ล ก ร ะ ท บ จากอุ บั ติ เ ห ตุ เหล่านั้นจะเป็นผู้ที่กระทำความผิดหรือไม่ ซึ่งกฎหมายจะให้ความคุ้มครองต่อตัวคู่กรณีและผู้เอาประกันเมื่อเกิด อุ บัติ เ ห ตุ ในรูปแบบของ เ งิ นช ด เ ช ย และค่า รั ก ษ า พย า บ าลตามที่ ก ฎห ม า ยกำหนด

เพื่อนๆ เคยสงสัยมั้ยครับว่า “แล้วถ้าไม่ซื้อ พ.ร.บ. ล่ะจะได้มั้ย”
ไม่ได้ครับ เพราะต้องใช้ประกอบการต่อ ทะ เ บี ย นรถ ย น ต์ หรือ การต่อภาษีรถยนต์ประจำปี ตามที่ก ฏห ม าย บั งคับให้รถทุกคันต้องทำ โดยสามารถต่อก่อนล่วงหน้าได้ไม่เกิน 3 เดือนครับ
หากรถยนต์ของเราไม่มี พ.ร.บ. มีโทษปรับไม่เกิน 10,000 บาท และเจ้าของรถต้องเก็บ รั กษ า ห ลั ก ฐ า นการมี ปร ะ กั น นี้ ไว้พร้อมแสดงต่อเจ้าหน้าที่ทุกเวลาที่ใช้รถยนต์ด้วย

แล้วเราจะได้อะไรจากการซื้อ พ.ร.บ. บ้างล่ะ
พ.ร.บ. ให้ความ คุ้ม ค รอ ง ความ เสี ย ห าย ที่เกิดขึ้นกับบุคคลเท่านั้น ไม่คุ้ มค ร อ งค วา ม เ สีย ห า ยอื่นใด ทั้งสิ้น พูดง่ายๆ คือ คุ้ ม คร อ ง “คน” ไม่คุ้มค ร อ ง “รถ” นั่นเองครับ
โดย มีวงเงินคุ้มครอง ดังนี้
1.ค่ารั ก ษ าพ ยา บาล ไม่เกิน 80,000 บาท ต่อคน
2.กรณีเ สีย ชี วิ ต สูญเ สี ย อ วั ยวะ หรือ ทุ พ พ ล ภา พ ถาวร ไม่เกิน 300,000 บาท ต่อคน
3.เงินช ด เช ย ร า ย วัน (ผู้ป่วยใน) ไม่เกิน 200 บาท ต่อวัน (ระยะเวลารวมไม่เกิน 20 วัน)
4.วงเงิน ค ว า ม คุ้ ม ค ร อ งต่อครั้ง ไม่เกิน 5,000,000 บาท

“แล้วๆ ถ้าจะเคลมล่ะ ยุ่งยากมั้ย?”
เคลมง่าย เซฟขั้นตอนไว้เลยนะครับ (จะได้ไม่พลาด)
1.แจ้ง ค ว า ม ต่อเจ้าหน้ า ที่ ตำ ร ว จ เพื่อลง บั น ทึก ประจำวัน
2.เข้ารับการ รัก ษ า ที่โรงพ ย า บ าล (เมื่อการ รั ก ษ า เรียบร้อยแล้ว อย่าลืมขอเ อ ก สารจากโรงพยา บ า ลด้วยนะ)
2.1ใบรับรอง แพ ท ย์
2.2ใบเสร็จรั บ เ งิ น

3.นำส่งเอกสารต่อบริษัท ประ กัน ภั ย ที่ซื้อ พ.ร.บ. เพื่อขอเบิกค่า รั ก ษ า พย า บ า ล ดังนี้
3.1บัน ทึ ก ป ระจำวันของเจ้ าห น้ า ที่ตำ ร วจ
3.2ใบรับรอง แ พ ท ย์
3.3ใบเสร็จรั บ เ งิ น
3.4สำเนาบัตรป ร ะ จำ ตั ว ป ร ะ ช า ชน ของผู้ที่ได้รับ บ า ด เ จ็บ
ขอบคุณข้อมูล : srikrungprakunonline.com