ประวัติความสำคัญ วันพืชมงคล พิธีแรกนาขวัญ
วันพืชมงคล คือ วันที่กำหนดให้มีพระราช พิ ธี จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ นับว่าเป็นพระราช พิ ธี ที่มีความเก่าแก่สืบต่อมาตั้งแต่โบราณเพื่อเสริมสร้างขวัญและกำลังใจให้กับเกษตรกรของชาติ อีกทั้งยังเป็นการระลึกถึงความสำคัญของเกษตรกรที่มีต่อเศรษฐกิจไทย

ซึ่งการจัดพระราช พิ ธี พื ชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญนี้มีสืบเนื่องมาตั้งแต่เมื่อสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย การประกอบพระราช พิ ธี จะกระทำขึ้นที่ท้องสนามหลวง อันประกอบด้วย 2 พระราช พิ ธี คือ พระราช พิ ธี พืชมงคล และพระราช พิ ธี จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
สวัสดีค่ะทุกๆท่าน วันพืชมงคลปี 2564 นี้ตรงกับวันจันทร์ที่ 10 พฤษภาคม ซึ่งเป็นวันแรม 5 ค่ำ เดือน 6 แต่เนื่อง C V – 19 จึงงดพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญที่สนามหลวง ในปี 2564 นี้จะปรับรูปแบบการจัดพิธีโดยจะประกอบพิธีปลุกเสกเมล็ด พั น ธุ์ ข้าว และประกอบพิธีไถหว่านในแปลงนาทดลอง สวนจิตรลดา

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้เผย แ พ ร่ กำหนดการและรายละเอียดพระราชพิธีผ่านทางเว็บไซต์พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระบาทสมเด็จ พ ร ะ เ จ้ า อยู่ หั ว ทรงพระกรุณาโปรดอาราธนาให้สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร) สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกเสด็จไปทรงเป็นประธาน
ในการประกอบพิธี ป ลุ ก เ ส ก เมล็ดพั น ธุ์ข้าวพระราชทาน เพื่อเป็นเมล็ด พั น ธุ์ สำหรับเพาะปลูก ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระบรมมหาราชวัง ในวันอาทิตย์ ที่ 9 พฤษภาคม 2564 โดย พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ ประธานองคมนตรี เป็นประธานฝ่ายฆราวาส

ประวัติวันพืชมงคล และพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
เมื่อกล่าวถึงพระราชพิธีพืชมงคล และพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ทั้ง 2 พิธีนี้มีความสำคัญแยกกัน ดังนี้ พระราชพิธีพืชมงคล เป็นพิธีทำขวัญพืชพรรณธัญญาหารที่พระมหากษัตริย์ทรงอ ธิ ษ ฐ า น เพื่อความอุดมสมบูรณ์ของทั้งข้าว และพืชจำพวกงา มีพระสงฆ์มากระทำพิธี ป ลุ ก เ สก เมล็ด พั น ธุ์ พืช ให้มีความสมบูรณ์แข็งแรง
ปีนี้จัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 9 พฤษภาคม 2564 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดอาราธนาให้ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร) สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เสด็จไปทรงเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ เพื่อประกอบพิธี ป ลุ ก เ ส ก เมล็ด พั น ธุ์ ข้ า ว พระราชทานเนื่องในวันพืชมงคล ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง

พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เป็นพระราชประเพณีที่องค์พระมหา ก ษั ต ริ ย์ จะเป็นผู้นำพิธี เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้แก่เกษตรกรที่หวั่น ภ ยั น ตร า ย ต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นระหว่างเพาะปลูกให้มีศรัทธาและมั่นใจ ด้วยการบวงสรวงเทวดา ด้วยพิธีเสี่ยงทายทำนายความสมบูรณ์ของปริมาณน้ำ สภาพดินฟ้าอากาศ
เกษตรกรส่วนหนึ่งจึงถือเอาวันพืชมงคล คือ วันเริ่มต้นฤกษ์หว่านไถ
พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ มีมาแต่อดีต แต่เว้นไปในช่วงปี พ.ศ. 2479 – 2503 โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรม ห าภู มิ พ ล อดุ ล ย เ ด ช รัชกาลที่ 9 มีพระราชกระแสให้ ป รับ ป รุ ง พิธีการบางอย่างให้เหมาะสมกับยุคสมัยและเสด็จพระราชดำเนินมาทรงเป็นประธานในพระ ร า ชพิ ธี นี้ทุกปีสืบมามิได้ขาด

วันพืชมงคล เป็นงานใหญ่ที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นแม่งาน และจะคัดเลือกผู้ร่วม พิธี ห ว่ า น ไถตามความเหมาะสม ดังนี้ พระยาแรกนา มีปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นผู้ตั้ง สั ตย า ธิ ษ ฐ า น เสี่ยงทาย และดำเนินการกระทำพิธีหว่านไถ
เทพีคู่หาบทอง และเทพีคู่หาบเงิน คัดเลือกจาก ข้ า ร า ช ก า ร ห ญิ ง ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่มีตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญชั้นโทขึ้นไป ที่มีสถานะโสด
พระโคแรกนา กรมปศุ สั ต ว์ เป็นผู้คัดเลือกพระโคที่มีลักษณะดีตามเกณฑ์พระโคแรกนาขวัญ มีกิริยามารยาทเรียบร้อย สอนง่าย มีขวัญหน้า ขวัญทัดดอกไม้ซ้ายขวา และขวัญหลังถูกต้อง จำนวน 2 คู่
คันไถ คันไถไม้สมอ ประกอบด้วยชุดคันไถ แอกเทียมพระโค ฐานรอง และธงสามชาย ซึ่งกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมหนองโพ อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี สร้างถวายให้เป็นคันไถประกอบพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ

พั น ธุ์ ข้ าวพระราชทาน เป็นพันธุ์ข้าวที่ได้รับการปลูกในโครงการนา ท ด ล อ ง ในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา 5 สาย พั น ธุ์
สัตยาธิษฐาน การเสี่ยงทาย ทำนายความสมบูรณ์ของปริมาณน้ำฝน และการเจริญเติบโตของพืช พั น ธุ์ จากผ้านุ่งของพระยาแรกนา และอาหารของพระโค ดังนี้
ผ้านุ่งของพระยาแรกนา พระยาแรกนาต้องตั้ง สัต ย า ธิ ษฐ า น หยิบผ้านุ่งจากพานโตก โดยเป็นผ้าลาย 3 ผืน มีความหมายตามขนาดของผ้า
ผ้า 4 คืบ พยากรณ์ว่า น้ำมาก นาในที่ดอนได้ผลบริบูรณ์ดี นาในที่ลุ่ ม เ สี ย ห าย บ้างได้ผลไม่เต็มที่
ผ้า 5 คืบ พยากรณ์ว่า น้ำพอดี ข้าวกล้าในนาได้ผลสมบูรณ์ ผลาหาร มังสาหารอุดมสมบูรณ์
ผ้า 6 คืบ พยากรณ์ว่า น้ำจะน้อย นาในที่ลุ่มได้ผลบริบูรณ์ดี นาในที่ดอน เสี ย หา ย บ้าง ได้ผลไม่เต็มที่

อาหารพระโค พระโคจะเลือกอาหาร 7 อย่าง มีคำทำนาย ดังนี้
ข้าว หรือ ข้าวโพด พยากรณ์ว่า ธัญญาหาร ผลาหาร จะบริบูรณ์ดี
ถั่ว หรือ งา พยากรณ์ว่า ผลาหาร ภักษาหาร จะอุดมสมบูรณ์ดี
น้ำ หรือ หญ้า พยากรณ์ว่า น้ำท่าจะบริบูรณ์พอสมควร ธัญญาหาร ผลาหาร ภักษาหาร มังสาหารจะอุดมสมบูรณ์
เ ห ล้ า พยากรณ์ว่า การคมนาคมจะสะดวกขึ้น การค้าขายกับต่างประเทศดีขึ้น ทำให้เศรษฐกิจรุ่งเรือง
ในปี 2564 นี้ พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ ประธานองคมนตรี ปฏิบัติหน้าที่ประธานใน พิธี ห ว่ านข้าวในแปลงนาท ด ล อ ง สวนจิตรลดา ในวันจันทร์ที่ 10 พฤษภาคม 2564 เวลา 10.00 น. โดยมี นายทองเปลว กองจันทร์ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พระยาแรกนาขวัญ เป็นผู้หว่านข้าว เพื่อเป็นเมล็ด พั น ธุ์ สำ หรับการประกอบพระราชพิธีพื ช ม ง ค ล จ ร ด พ ร ะนังคัลแรกนาขวัญในปีพุทธศักราช 2565
ชอบคุณข้อมูล : ไทยรัฐ